TGL FREIGHT MANAGEMENT
ข้อความ | ความหมาย |
(1) AGENT IATA CODE | รหัสตัวแทน IATA |
(2) AIR WAYBILL | ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ |
(3) AIRPORT OF DEPARTURE | สนามบินต้นทาง |
(4) AIRPORT OF DESTINATION | สนามบินปลายทาง |
(5) ARRIVAL NOTICE | ใบแจ้งว่าเรือได้มาถึง |
(6) B.A.F.(BUNKER ADJUSTMENT FACTOR) | ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากค่าน้ำมันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น เป็นค่าใช้จ่ายที่บริษัทเรือเรียกเก็บเพิ่มเติมจากค่าระวางปกติ |
(7) BERTH | หมายถึงท่าเทียบเรือ |
(8) BILL OF LADING | ใบตราส่งสินค้าทางเรือ |
(9) BREAK-BULK CARRIER | เรือเดินสมุทรที่ใช้ขนสินค้าที่เป็นหีบห่อหรือสินค้าที่เป็นชิ้น เช่น เหล็ก รถยนต์ |
(10) BULK CARGO | สินค้าเทกอง คือสินค้าที่ขนส่งคราวละมากๆ โดยไม่มีภาชนะบรรจุสินค้า ใช้วิธีขนส่งโดยเทสินค้าลงในระวางเรือใหญ่ เช่น ปุ๋ย มันสำปะหลัง น้ำตาล ถ่านหิน |
(11) BULK CARRIER | เรือเดินสมุทรที่ใช้ขนสินค้าประเภทเทกองและสินค้าที่เป็นของเหลว |
(12) C.A.F.(CURRENCY ADJUSTMENT FACTOR) | ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นค่าใช้จ่ายที่บริษัทเรือเรียกเก็บเพิ่มเติมจากค่าระวางปกติ |
(13) CARRIER | สายการบินที่ทำการขนส่งสินค้า |
(14) CARRIER’S AGENT | ตัวแทนผู้รับขนส่งผู้ออกใบตราส่ง |
(15) CFS (CONTAINER FREIGHT STATION) | สถานี บรรจุ / ส่งมอบ สินค้าที่ต้นทาง ผู้ส่งออกต้องนำสินค้าไปส่งมอบให้แก่ตัวแทนสายเดินเรือ ณ ที่ทำการของตัวแทนสายเดินเรือ ซึ่งตัวแทนสายเดินเรือจะทำการบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ด้วยตนเอง โดยจะต้องรับผิดชอบในสินค้าที่ได้รับจากผู้ส่งออกจนกระทั่งสินค้าส่งไปถึงเมืองท่าปลายทาง ตัวแทนสายเดินเรือจะเรียกเก็บค่าบรรจุตู้(CFS Charge) จากผู้ส่งออก ที่ปลายทาง ตัวแทนเรือจะส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้นำเข้า ณ ที่ทำการหรือสถานีบริการของตัวแทนเรือ ตัวแทนเรือจะเรียกเก็บค่าเปิดตู้(CFS Charge) จากผู้นำเข้า |
(16) CFS/CFS | B/L ที่ระบุเช่นนี้ หมายความว่า ที่เมืองท่าต้นทางส่งออกแบบ CFS ที่เมืองท่าปลายทางนำเข้าแบบ CFS หรือการเปิดตู้คอนเทนเนอร์ ณ ที่ทำการของตัวแทนสายเดินเรือ ผู้นำเข้าบรรทุกสินค้าไปกับรถบรรทุก |
(17) CFS/CY | B/L ที่ระบุเช่นนี้ หมายความว่า ที่เมืองท่าต้นทางส่งออกแบบ CFS ที่เมืองท่าปลายทางนำเข้าแบบ CY ผู้นำเข้าลากตู้คอนเทนเนอร์ไปขนถ่ายสินค้ายังสถานประกอบการของผู้นำเข้าเอง |
(18) CHARGEABLE WEIGHT | น้ำหนักสินค้าที่ใช้คำนวณค่าระวาง |
(19) CHARTERER | เรือจรเช่าเหมาลำที่ไม่มีการกำหนดเส้นทางและตารางเดินเรือที่แน่นอนตายตัว |
(20) CLEAN ON BOARD / CLEAN SHIPPED ON BOARD | เป็นคำที่ระบุใน B/L โดยทั่วไป มีความหมายว่าเรือสินค้าได้รับของไว้บนเรือแล้ว โดยสินค้าอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย คำว่า Clean มีความหมายว่าสินค้าอยู่ในสภาพเรียบร้อย ดังนั้น B/L ต้องไม่มี Remark หรือหมายเหตุว่าสินค้าอยู่ในสภาพที่ไม่เรียบร้อย |
(21) COMBINED TRANSPORT BILL OF LADING | ใบตราส่งสินค้า สำหรับการขนส่งหลายวิธีซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของบริษัทเรือ เช่นขนส่งโดยเรือแล้วไปต่อรถไฟจนถึงปลายทาง |
(22) CONFERENCE | หมายถึงชมรมเดินเรือ เช่นชมรมเดินเรืออเมริกาเหนือ |
(23) CONSIGNEE | ผู้รับตราส่งสินค้า Æ กรณีซื้อขายโดย L/C จะระบุตามแต่เงื่อนไขใน L/C ว่า TO ORDER หรือระบุเป็นชื่อธนาคารผู้เปิด L/C Æ กรณีซื้อขายตรงโดยไม่ผ่านธนาคารจะระบุชื่อผู้รับสินค้าโดยตรง |
(24) CONSOLIDATION | การรวบรวมสินค้า หรือการรวมสินค้า โดยปกติจะกระทำโดยตัวแทนของผู้ซื้อสินค้า |
(25) CONTAINER AND SEAL NO. | หมายเลขตู้สินค้าและหมายเลขแถบผนึกตู้สินค้า |
(26) CONTAINER CARRIER | เรือเดินสมุทรที่ใช้ขนส่งสินค้าด้วยตู้สินค้า |
(27) CONVENTIONAL VESSEL | เรือเดินสมุทรแบบดั้งเดิมที่บรรทุกสินค้าลงในระวางเรือใหญ่โดยตรง |
(28) CY (CONTAINER YARD) | สถานี ส่งมอบ / รับมอบ ตู้สินค้าที่ต้นทาง ผู้ส่งออกต้องขอรับตู้คอนเทนเนอร์จากตัวแทนเรือเพื่อนำไปบรรจุสินค้าด้วยตนเอง ณ สถานประกอบการของผู้ส่งออกเอง ผู้ส่งออกจะต้องรับผิดชอบในสินค้าที่บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์จนกระทั่งสินค้าส่งไปถึงเมืองท่าปลายทาง ตัวแทนสายเดินเรือจะระบุใน B/L ว่า Shipper loaded and counted แต่จะไม่เรียกเก็บค่าบรรจุตู้จากผู้ส่งออกที่ปลายทาง ตัวแทนเรือจะส่งมอบตู้คอนเทนเนอร์ให้แก่ผู้นำเข้า ณ ที่ทำการหรือสถานีบริการของตัวแทนเรือ ตัวแทนเรือจะไม่เรียกเก็บค่าเปิดตู้จากผู้นำเข้า |
(29) CY/CY | B/L ที่ระบุเช่นนี้ หมายความว่า ที่เมืองท่าต้นทางส่งออกแบบ CY ที่เมืองท่าปลายทางนำเข้าแบบ CY |
(30) DECLARED VALUE FOR CARRIER | ราคาสินค้าที่สำแดงต่อสายการบินใน AWB |
(31) DECLARED VALUE FOR CUSTOMS | ราคาสินค้าที่สำแดงต่อศุลกากรใน AWB |
(32) DELIVERY ORDER | ใบสั่งปล่อยสินค้า |
(33) DEMURRAGE CHARGE | ค่าเสียเวลาของเรือ หรือค่าเสียเวลาของตู้สินค้าที่ไม่สามารถนำออกจากท่าได้ตามเวลาที่กำหนด |
(34) DESCRIPTION OF GOODS | รายการสินค้า |
(35) DESPATCH MONEY | เงินที่บริษัทเรือจ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ใช้เรือเมื่อทำงานได้แล้วเสร็จก่อนเวลาที่กำหนด ส่วนใหญ่ใช้กับเรือจรเช่าเหมา |
(36) DETENTION | ค่าคืนตู้สินค้าที่ช้าเกินกว่าเวลาที่กำหนด |
(37) DIVERSION | การขอเปลี่ยนเมืองท่าปลายทางของสินค้าในระหว่างหรือก่อนการขนส่ง |
(38) DOC. FEE | ค่าเอกสาร |
(39) DOOR TO DOOR | การรับมอบสินค้าจากสถานที่ตั้งของผู้ส่งออก และส่งมอบสินค้าไปถึงสถานที่ตั้งของผู้นำเข้า |
(40) E.T.A. (ESTIMATE TIME OF ARRIVAL) | ประมาณการของวันที่ที่เรือจะเข้าถึงท่าปลายทาง |
(41) E.T.D. (ESTIMATE TIME OF DEPARTURE) | ประมาณการของวันที่ที่เรือจะออกจากท่าต้นทาง |
(42) EXECUTED ON | วันที่ออกใบตราส่งใน AWB |
(43) FCL (FULL CONTAINER LOAD) | คือการบรรจุสินค้าจนเต็มตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งการนำเข้าหรือส่งออกแบบ CFS และ CY |
(44) FEU (FORTY FOOT EQUIPVALENT UNIT) | ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต |
(45) FLIGHT/DATE | เที่ยวบินและวันที่เครื่องออก |
(46) FREIGHT COLLECT /PAYABLE AT DESTINATION | ค่าระวางจ่ายที่เมืองท่าปลายทาง |
(47) FREIGHT FORWARDER | ตัวแทนผู้รับขนส่งสินค้า |
(48) FREIGHT PREPAID/FREIGHT PAID | ค่าระวางจ่ายที่ต้นทาง |
(49) GENERAL AVERAGE (G.A.) | ความรับผิดชอบในการผจญภัยร่วมกันของสินค้าที่อยู่ในเรือลำเดียวกันซึ่งขนส่งมาด้วยกัน ในกรณีที่ต้องสละสินค้าบางส่วนเพื่อความปลอดภัยของเรือและสินค้าส่วนที่เหลืออยู่บนเรือ |
(50) GROSS WEIGHT | น้ำหนักรวมของสินค้า |
(51) HAZARDOUS GOODS | สินค้าอันตราย |
(52) HOUSE AIR WAYBILL | ใบตราส่งสินค้าทางอากาศที่ออกให้โดย Air Freight Forwarder |
(53) I.C.D. (INLAND CONTAINER DEPOT) | คือสถานีตู้สินค้าICD ที่มีพิธีการศุลกากรทั้งสินค้าขาเข้าและสินค้าขาออก เรียกว่า โรงพักสินค้าเพื่อตรวจปล่อยของขาเข้าและบรรจุของขาออกที่ขนส่งด้วยตู้คอนเทนเนอร์นอกเขตทำเนียบท่าเรือ (รพท.)ICD ที่มีพิธีการศุลกากรเฉพาะสินค้าขาออก เรียกว่าสถานีตรวจและบรรจุสินค้าที่เข้าตู้คอนเทนเนอร์เพื่อการส่งออก (สตส.) |
(54) IATA CARGO AGENT | ตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศที่ได้รับการรับรองจากสมาคมการขนส่งสินค้าทางอากาศ |
(55) INLAND TRANSIT | การขนส่งภายในประเทศ จะเป็นการขนส่งเพื่อนำสินค้าไปขึ้นเรือใหญ่ที่เมืองท่าต้นทาง หรือการรับส่งสินค้าจากเรือใหญ่ที่เมืองท่าปลายทางก็ได้ |
(56) LCL (LESS THAN CONTAINER LOAD) | คือการบรรจุสินค้าไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งจะเป็นการนำเข้าหรือส่งออกแบบ CFS เท่านั้น |
(57) LINER | เรือที่มีการกำหนดเส้นทางและตารางเดินเรือที่แน่นอนตายตัวส่วนใหญ่ได้แก่เรือคอนเทนเนอร์ |
(58) MANIFEST | บัญชีสินค้าที่บรรทุกมากับเรือ |
(59) MARK & NO. | เครื่องหมายและเลขหมายหีบห่อของสินค้า |
(60) MASTER | หมายถึงกัปตันเรือหรือผู้ควบคุมเรือ |
(61) MASTER AIR WAYBILL | ใบตราส่งสินค้าทางอากาศที่ออกให้โดยสายการบิน |
(62) MATE’S RECEIPT | ใบรับสินค้าในเบื้องต้นจากต้นหนของเรือเดินสมุทร เป็นหลักฐานที่จะนำไปให้บริษัทตัวแทนเรือออกใบตราส่งสินค้า |
(63) MEASUREMENT/ GROSS WEIGHT | ขนาดของหีบห่อและน้ำหนักรวมบรรจุภัณฑ์ของสินค้า สำแดงเฉพาะยอดรวมเท่านั้น |
(64) MULTIMODAL TRANSPORT DOCUMENT | ใบรับสินค้าขนส่งหลายทอดหรือหลายรูปแบบ เป็นเอกสารที่ผู้รับขนส่งออกให้แทนใบตราส่งสินค้าทางเรือ ในกรณีที่สินค้าที่รับขนส่งนั้นมีการขนส่งหลายทอด เช่นขนจากโรงงานต้นทางด้วยรถยนต์ไปต่อเรือเดินสมุทรแล้วขนส่งโดยทางรถไฟที่ปลายทางอีกทอดหนึ่งจากนั้นจึงนำขึ้นรถบรรทุกไปส่งยังสถานที่ปลายทาง เป็นต้น |
(65) N.V.O.C.C. (NON-VESSEL OPERATION COMMON CARRIER) | คือผู้ให้บริการขนส่งสินค้าที่ไม่ใช่เจ้าของเรือหรือไม่มีเรือเป็นของตนเอง |
(66) NOTIFY PARTY | ผู้รับสินค้า หรือผู้รับโอนสิทธิ์ในสินค้าจาก Consignee |
(67) NUMBER OF ORIGINAL | จำนวนต้นฉบับของ B/L โดยทั่วไปจะมี 3 ใบ |
(68) O.C.P.(OVERLAND COMMON POINT) | สถานที่ส่งมอบสินค้าปลายทางที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน |
(69) PLACE AND DATE OF ISSUED | สถานที่และวันที่ที่ออกใบตราส่งสินค้า |
(70) PLACE OF DELIVERY | สถานที่สุดท้ายที่จะส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ อาจเป็นคลังสินค้า ณ เมืองท่าปลายทาง หรือคลังสินค้า / สถานที่ทำการของผู้ซื้อที่อยู่ในอีกเมืองหนึ่งหรือในอีกประเทศหนึ่งก็ได้ |
(71) PLACE OF LOADING | สถานที่ต้นทางที่ส่งออก |
(72) PLACE OF RECEIPT | สถานที่รับสินค้าต้นทาง อาจเป็นคลังสินค้าของผู้ซื้อที่เมืองท่าต้นทาง หรือเป็นท่าเรือส่งออกที่ต้นทาง |
(73) PORT OF DISCHARGE | เมืองท่าปลายทาง / เมืองท่าที่ขนถ่ายสินค้าลงจากเรือ |
(74) PORT OF LOADING | เมืองท่าต้นทางที่ส่งออก |
(75) PRE-CARRIER | ชื่อเรือเล็กที่ขนสินค้าไปขึ้นเรือใหญ่ ณ เมืองท่าที่เรือใหญ่มารับขนถ่ายสินค้าจากเรือเล็กอีกทอดหนึ่ง |
(76) QUANTITY AND KIND OF PACKAGES | จำนวนและลักษณะหรือชนิดของหีบห่อ |
(77) RATE CLASS | อัตราค่าระวางขนส่งทางอากาศ |
(78) REQUESTED ROUTING | เส้นทางเดินอากาศที่ต้องการ |
(79) RO-RO CARRIER | เรือเดินสมุทรชนิดที่ขนสินค้าขึ้นและลงจากเรือด้วยสายพาน เช่นเรือบรรทุกรถยนต์ |
(80) SERENDER BILL OF LADING | ใบตราส่งสินค้าที่ผู้รับใบตราส่ง สามารถขอรับใบสั่งปล่อยสินค้าที่ปลายทางได้โดยไม่ต้องใช้ใบตราส่งสินค้าต้นฉบับ |
(81) SHIPPED ON BOARD | เป็นคำที่ระบุใน B/L โดยทั่วไป มีความหมายว่าเรือสินค้าได้รับของไว้บนเรือเป็นที่เรียบร้อยแล้ว |
(82) SHIPPER | ผู้ส่งสินค้า |
(83) SHIPPING AGENT / SHIP AGENT | ตัวแทนเรือ |
(84) SHIPPING PARTICULAR/ SHIPPING ORDER/ SHIPPING INSTRUCTION | ใบจองเรือที่ผู้ส่งออกจะต้องกรอกรายละเอียดต่างๆ ด้วยตนเอง เพื่อตัวแทนสายเดินเรือจะได้นำรายละเอียดต่างๆ ไปจัดทำใบตราส่งสินค้าให้แก่ผู้ส่งออก |
(85) SHUOLD BE | การขอแก้ไขเอกสารและบัญชีเรือ |
(86) T.H.C.(TERMINAL HANDLING CHARGE) | ค่าใช้จ่ายหน้าท่า หรือค่ายกตู้สินค้า |
(87) TALLY SHEET | เอกสารบันทึกการรับสินค้าของตัวแทนเรือ |
(88) TEU (TWENTY FOOT EQUIVALENT UNIT) | ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต |
(89) THROUGH BILL OF LADING | ใบตราส่งสินค้า สำหรับการขนส่งด้วยเรือตลอดเส้นทาง |
(90) UN CLASSIFICATION NUMBER | หมายเลขรหัสของสินค้าอันตราย ที่เป็นหมายเลขและมาตรฐานการป้องกันอันเป็นสากล |
(91) V.O.C.C. (VESSEL OPERATING COMMON CARRIER) | เรือเดินสมุทรที่ผู้ประกอบกิจการเป็นเจ้าของเรือด้วย |
(92) VESSEL / STEAMER/ CARRIER | ชื่อเรือใหญ่ที่เดินทางไปยังเมืองท่าปลายทาง |
(93) VOY.NO. / VOYAGE NO. | เที่ยวเรือ |
Chartering: abbreviations and meanings
Abbreviation | Meaning |
---|---|
AA | Always Afloat |
AAAA | Always Accessible Always Afloat |
AAOSA | Always Afloat or Safe Aground. Condition for a vessel whilst in port |
AARA | Amsterdam-Antwerp-Rotterdam Area |
ABAFT | Toward the rear (stern) of the ship. Behind. |
ABOARD | On or within the ship |
ABOVE DECK | On the deck (not over it – see ALOFT) |
ABT | About |
ADCOM | Address Commission |
ADDENDUM | Additional chartering terms at the end of a charter party |
AFSPS | Arrival First Sea Pilot Station (Norway) |
AFFREIGHTMENT | The hiring of a ship in whole or part |
AFT | At or towards the stern or rear of a ship |
AGROUND | Touching or fast to the bottom |
AGW | All Going Well |
AHL | Australian Hold Ladders |
AIDS TO NAVIGATION | Artificial objects to supplement natural landmarks indicating safe and unsafe waters |
ALOFT | Above the deck of the ship |
AMIDSHIPS | In or toward the centre of the ship |
A/N | Arrival Notice – an import document send to the notify party and/or importer’s broker containing all necessary arrival info for Customs clearance; normally with freight charges. |
ANCHORAGE | A place suitable for anchorage in relation to the wind, seas and bottom |
ANTHAM | Antwerp-Hamburg Range |
APS | Arrival Pilot Station |
ARAG | Amsterdam-Rotterdam–Antwerp-Gent Range |
ARBITRATION | Method of settling disputes which is usually binding on parties. A clause usually in a charter party |
A/S | Alongside |
ASBA | American Shipbrokers Association |
ASN | Advance Shipment Notice |
ASPW | Any Safe Port in the World |
ASTERN | In the back of the ship, opposite of ahead |
ATA | Actual time of arrival |
ATD | Actual time of departure |
ATDNSHINC | Any Time Day/Night Sundays and Holidays Included |
ATFI | ATFI |
ATHWARTSHIPS | At right angles to the centreline of the ship |
ATUTC | Actual Times Used to Count |
AWB | Air waybill |
BACKLETTER | Where a seller/shipper issues a ‘letter of indemnity’ in favour of the carrier in exchange for a clean bill of lading |
BAF | Bunker Adjustment Factor. A Fuel Surcharge expressed as a percentage added or subtracted from the freight amount, reflecting the movement in the market place price for bunkers. |
BALE CAP. | Cubic capacity of a vessels holds to carry packaged dry cargo such as bales/pallets |
BALLAST | Heavy weight, often sea water, necessary for the stability and safety of a ship which is not carrying cargo |
BALLAST BONUS | Compensation for relatively long ballast voyage |
BAREBOAT CHTR. | Bareboat Charter – Owners lease a specific ship and control its technical management and commercial operations only. Charterers take over all responsibility for the operation of the vessel and expenses for the duration. |
BBB | Before Breaking Bulk. Refers to freight payments that must be received before discharge of a vessel commences |
BDI | Both Dates Inclusive |
BEAM | The maximum breadth or the greatest width of a ship |
BELOW | Beneath the deck |
BENDS | Both Ends (Load & Discharge Ports) |
BI | Both Inclusive |
BIMCO | The Baltic and International Maritime Council |
BL | Bale |
B/L | (Bill of Lading) A document signed by the carrier which acts as a Contract of Affreightment, a receipt and evidence of title to the cargo. |
BM | Beam |
BN | Booking Note |
BOB | Bunker on Board |
BOFFER | Best Offer |
BOW | The forward part of a ship |
BROB | Bunkers Remaining on Board |
BROKERAGE | Percentage of freight payable to broker (by owners in c/p’s) or applicable to sale or purchase |
BSS | Basis |
BSS 1/1 | Basis 1 Port to 1 Port |
BT | Berth Terms |
BULKHEAD | A vertical partition separating compartments |
BUNDLING | This is the assembly of pieces of cargo, secured into one manageable unit. This is relevant to items such as Structural Steel, Handrails, Stairways etc. Whilst this is a very flexible description, a rule of thumb is to present cargo at a size easily handled by a large (20 tonne) fork lift. |
BUNKERS | Name given for vessels Fuel and Diesel Oil supplies (Originates from coal bunkers) |
BUOY | An anchored float used for marking a position on the water or a hazard or a shoal and for mooring |
BWAD | Brackish Water Arrival Draft |
CAF | Currency Adjustment Factor. A fee applied to the shipping costs to compensate for exchange rate fluctuations. |
CBM | Cubic Metres |
CBFT (or CFT) | Cubic Feet |
CFR (or C&F) | Cost and Freight |
CHART | A map used by navigators |
CHOPT | Charterers Option |
CHTRS | Charterers |
CIF | Cost, Insurance & Freight. Seller pays all these costs to a nominated port or place of discharge. |
CKD | Completely knocked down |
COA | Contract of Affreightment – Owners agree to accept a cost per revenue tonne for cargo carried on a specific number of voyages. |
CIP | Carriage and Insurance paid to… |
C.O. | Certificate of Origin – a signed statement from a semiofficial organization certifying the origin of an export item, required by certain nations. |
COACP | Contract of Affreightment Charter Party |
COB | Closing of Business |
COBLDN | Closing of Business London |
COD | Cash On Delivery |
COGSA | Carriage of Goods by Sea Act |
CONGESTION | Port/berth delays |
CONS | Consumption |
CNEE | CONSIGNEE. Name of agent, company or person receiving consignment |
COP | Custom Of Port |
CP (or C/P) | Charter Party |
CPD | Charterers Pay Dues |
CPT | Carriage Paid To |
CQD | Customary Quick Despatch |
CR | Current Rate |
CROB | Cargo Remaining on Board |
CRN | Crane |
CRT | Cargo Retention Clauses, introduced by charterers based on shortage of delivered cargo because of increased oil prices |
CST | Centistoke |
CTR | Container Fitted |
DA | Disbursement Account |
DAF | Deliver At Frontier |
DAPS | Days all Purposes (Total days for loading & discharging) |
DAMFORDET | Damages for Detention. Penalty if cargo is not ready when ship arrives for working (1st day of Laycan). This is not detention which is charged for ships time on delay. If the cargo is ready there is no DAMFORDET. |
DDU | Delivered Duty unpaid. |
DDP | Delivered Duty Paid. |
DECK | A permanent covering over a compartment, hull or any part thereof |
DEM | Demurrage (Quay Rent). Money paid by the shipper for the occupying port space beyond a specified “Free Time” period. |
DEQ | Delivered Ex Quay |
DES | Delivered Ex Ship |
DESP | Despatch. Time saved, reward for quick turnaround- in dry cargo only |
DET | Detention (See DAMFORDET) |
DEV | Deviation. Vessel departure from specified voyage course |
DFRT | Deadfreight. Space booked by shipper or charterer on a vessel but not used |
DHDATSBE | Despatch Half Demurrage on All Time Saved Both Ends |
DHDWTSBE | Despatch Half Demurrage on Working Time Saved Both Ends |
DISCH | Discharge |
DK | Deck |
DLOSP | Dropping Last Outwards Sea Pilot (Norway) |
DO | Diesel Oil |
DOLSP | Dropping Off Last Sea Pilot (Norway) |
DOP | Dropping Outward Pilot |
DOT | Department of Transport |
DNRCAOSLONL | Discountless and Non-Returnable Cargo and/or Ship Lost or Not Lost |
DRAUGHT (or DRAFT) | Depth to which a ship is immersed in water. The depth varies according to the design of the ship and will be greater or lesser depending not only on the weight of the ship and everything on board, but also on the density of the water in which the ship is lying. |
DRK | Derrick |
DUNNAGE | Materials of various types, often timber or matting, placed among the cargo for separation, and hence protection from damage, for ventilation and, in the case of certain cargoes, to provide space in which the tynes of a fork lift truck may be inserted. |
DWAT (or DWT) | Deadweight. Weight of cargo, stores and water, i.e. the difference between lightship and loaded displacement. |
EBB | A receeding current |
EC | East Coast |
EIU | Even If Used |
ELVENT | Electric Ventilation |
ETA | Estimated Time of Arrival – the projected date and time a shipment is scheduled to arrive at its destination. |
ETC | Estimated Time of Completion |
ETD | Estimated Time of Departure – the projected date and time a shipment is scheduled to depart from the port/airport of origin. |
ETS | Estimated Time of Sailing |
EXW | Ex Works |
FAC | Fast as can |
FAS | Free Alongside Ship. Seller delivers goods to appropriate dock or terminal at port of embarkation and buyer covers costs and risks of loading |
FCA | Free to Carrier. A modern equivalent of FAS used in intermodal transport where goods are transferred at a nominated forwarders premises, depot or terminal but not actually on board vessel. |
FCL | Full Container Load – a container that is fully loaded by cargo, occupying all space, or loaded to the maximum permissable weight. It can contain cargo from multiple shippers, but normally is consigned to the same consignee. The shipment is expected to be delivered to the consignee with the shipper’s seal intact. |
FD (FDIS) | Free Discharge |
FDD | Freight Demurrage Deadfreight |
FDESP | Free Despatch |
FDEDANRSAOCLONL | Freight Deemed Earned, Discountless And Non-Returnable (Refundable) Ship And Or Cargo Lost Or Not Lost |
FENDER | A cushion, placed between ships, or between a ship and a pier, to prevent damage |
FEU | Standard 40″ Container, forty-foot equivalent unit, a standard size intermodal container. |
FHEX | Fridays/Holidays Excluded |
FHINC | Fridays/Holidays Included |
FILO | Free In/Liner Out. Seafreight with which the shipper pays load costs and the carrier pays for discharge costs. |
FIO | Free In/Out. Freight booked FIO includes the seafreight, but no loading/discharging costs, i.e. the charterer pays for cost of loading/discharging cargo. |
FIOS | Free In/Out Stowed. As per FIO, but excludes stowage costs. |
FIOST | Free In/Out and Trimmed. Charterer pays for cost of loading/discharging cargo, including stowage and trimming. |
FIOT | Free In/Out and Trimmed. As per FIOS but includes trimming, e.g. the levelling of bulk cargoes. FIOS includes seafreight, but excludes loading/discharging and stowage costs. |
FIT | Free In Trimmed |
FIW | Free In Wagon |
FIXING | Chartering a Vessel |
FIXTURE | Conclusion of shipbrokers negotiations to charter a ship – an agreement |
FLATPACKING | Cargo to be presented stacked and secured as an integral unit. |
FLT | Full Liner Terms |
FMC | Federal Maritime Commission |
FME | Force Majeure Excepted |
FMS | Fathoms |
FO | For Orders |
FO (IFO) | Fuel Oil/Intermediate FO |
FO | Free Out |
FOB | Free on Board. Seller sees the goods “over the ship’s rail” on to the ship which is arranged and paid for by the buyer |
FOFFER | Firm Offer |
FOG | For Our Guidance |
FOQ | Free On Quay |
FOR | Free On Rail |
FORCE MAJEURE | Clause limiting responsibilities of the charterers, shippers and receivers of cargo. |
FORE-AND-AFT | In a line parallel to the keel |
FORWARD | Toward the bow of the ship |
FOT | Free On Truck |
FOW | First Open Water |
FOW | Free On Wharf |
FP | Free Pratique. Clearance by the Health Authorities |
FR | First Refusal. First attempt at best offer that can be matched |
FREEBOARD | The minimum vertical distance from the surface of the water to the gunwale |
FRT | Freight. Money payable on delivery of cargo in a mercantile condition |
FREE DESPATCH | If loading/discharging achieved sooner than agreed, there will be no freight money returned. |
FREE EXINS | Free of any Extra Insurance (Owners) |
FREE OUT | Free of discharge costs to owners. Includes seafreight only. |
FRUSTRATION | Charterers when cancelling agreement sometimes quote ‘doctrine of frustration’ i.e. vessel is lost, extensive delays. |
FWAD | Fresh Water Arrival Draft |
FWDD | Fresh Water Departure Draft |
FYG | For Your Guidance |
FYI | For Your Information |
GA | General Average |
GEAR | A general term for ropes, blocks, tackle and other equipment |
GLS (GLESS) | Gearless |
GNCN | Gencon (GENERAL CONDITIONS) |
GN (or GR) | Grain (Capacity) |
GO | Gas Oil |
GP | Grain Capacity. Cubic capacity in ‘grain’ |
GR | Geographical Rotation. Ports in order of calling |
GRD | Geared |
GRI | General Rate Increase. Used to describe an across-the-board tariff rate increase implemented by conference members and applied to base rates. |
GRT | Gross Registered Tonnage |
GSB | Good, Safe Berth |
GSP | Good, Safe Port |
GTEE | Guarantee |
GUNWALE | The upper edge of a ship’s sides |
2H | Second Half |
HA | Hatch |
HAGUE RULES | Code of minimum conditions for the carriage of cargo under a Bill of Lading |
HATCH | An opening in a ship’s deck fitted with a watertight cover |
HBF | Harmless Bulk Fertilizer |
HDLTSBENDS | Half Despatch Lay Time Saved Both Ends |
HDWTS | Half Despatch Working (or Weather) Time Saved |
HHDW | Handy Heavy d.w. (Scrap) |
HIRE | T/C Remuneration |
HMS | Heavy Metal Scraps |
HO | Hold |
HOLD | A compartment below deck in a large vessel, used solely for carrying cargo |
HULL | The main body of a ship |
HW | High Water |
ICW | Intercoastal Waterway : bays, rivers, and canals along the coasts (such as the Atlantic and Gulf of Mexico coasts), connected so that vessels may travel without going into the sea |
IMDG | International Maritime Dangerous Goods Code |
IMO | International Maritime Organisation |
IN &/OR OVER | Goods carried below and/or on deck |
INCOTERMS | (Refer to comments in covering statement on front page A-F) |
IND | Indication |
INTERMODAL | Carriage of a commodity by different modes of transport, i.e. sea, road, rail and air within a single journey |
ITF | International Transport Workers Federation (Trade Unions). Complies on crewing |
ISPS | International Ships and Port Security System |
ITINERARY | Route.Schedule |
IU | If Used |
IUHTAUTC | If Used, Half Time Actually To Count |
IWL | Institute Warranty Limits |
KEEL | The centreline of a ship running fore and aft; the backbone of a vessel |
- BAREBOAT CHARTERER: Charterer gets the ship, its hull, and machinery, and must hire a crew or the services of a ship management company. By contrast, a time charterer pays for a ready-to-go vessel.
- CHARTER PARTY: Actual document substantiating a vessel charter. There are several standard agreements, such as box time, or New York Produce Exchange (NYPE). Box time is favored more than NYPE, which dates to the 1920s and contains archaic language. Larger liner companies have their own charter parties. Most charter parties are written, though a few are oral, generally among parties whose business is well known to each other. By law, a charter party is no less valid if it has been orally rendered.
- VOYAGE CHARTER: A charterer pays for use of a vessel to carry cargo from one designated port to another, or one port range to another. Charterer is usually responsible for stowage, discharge of cargo, and pays freight passed on vessel capacity or cargo loaded. The greatest risk is that a voyage may last longer than anticipated.
- TIME CHARTER A charterer pay for the use of a vessel for a specified period. The charterer also provides and pays for fuel, port charges, and pilotage. The shipowner retains responsibility for navigation and most operations aboard the vessel.
- PART CHARTER:Usually based on voyage charter party model, and occur when a shipowner cannot locate a charterer with a full load. Part charters can work well if the cargo is too large or bulky to be carried on a liner vessel, but too small to justify a full vessel charter.
- RECAP The document transmitted when a fixture has been agreed, setting forth all of the negotiated terms and details. This is the operative document until the charter party is drawn up.
- HIRE Charterer compensates the owner for use of a vessel. “On hire” means the ship is in service as contracted. “Off hire” means that the ship is temporarily unavailable to the charterer.
- FIXTURE Conclusion of charter negotiations between owner and charterer, when an agreement has been reached to charter a vessel.
- DISPONENT OWNER: Name used to describe a charterer who acts as an owner by sub-chartering a vessel, and assuming an owner’s liability to the sub-charterer.
- FREIGHT: Compensation paid to the owner by the voyage charterer for use of a vessel. “This is sometimes confusing because the same term is used to describe the payment made by a cargo shipper to the bill of lading issuer,” said Keith Heard, an admiralty attorney with the firm of Burke & Parsons in New York.
- FIOS (FREE IN, OUT, STOWED) : It is most important to remember that the “Free” reference is viewed from the Ship Owners point of view – not the Shipper’s. Some Shippers get caught out when they read the word “Free” as they incorrectly believe that it refers to them.
- Freight rates quoted on a FIOS basis specifically exclude all aspects relating to cargo handling operations. The ship is only responsible for expenses arising as a result of the ship calling into the port, i.e. tugs, pilots and light dues etc. Another very important consideration when booking cargo on FIOS terms is that the ship does not bear any responsibility for the speed of loading or discharging. Usually the rate agreed includes a fixed “free” period of time for loading/discharging operations, after which time a daily demurrage is incurred. Obviously this is of paramount importance where port congestion or stevedoring performance is uncertain. There are many overseas ports which fall into this category and particularly where vessel demurrage rates can vary significantly, depending on the size and type of ship nominated to undertake the particular project.
- LINER TERMS – GENERAL STATEMENT : Liner Terms is a very ambiguous statement and can be interpreted in a variety of ways in different ports of the world and by different Ship Owners/Agents. Personally we would prefer to clearly define the extent of responsibility when quoting on this basis.
- LINER TERMS HOOK / HOOK : Given that this is a notional point in chartering terms, this is best described as the Shipper/Receiver arranging for delivery/receival of cargo to/from directly under ships hook and the ship paying for the labour to stow the cargo in the vessels cargo holds, as well as on-board lashing & securing and provision of dunnage materials, and to discharge again over the ship’s side. Shore based stevedoring aspects remain the responsibility of the shipper/receiver, however, there are some Owners that may incorporate these costs into their LTHH rate. Once again, ask Owners to clearly define this aspect.
- Wharfage charges/dues/taxes can be a contentious issue but are usually considered to be for the Shippers/Receivers account and there may also be many other statutory levies on cargo or freight that may apply. Many Shippers/Receivers are unaware of these additional costs and do not include them into their costing and consequently may be left with an unexpected considerable expense at the completion of a project.
- FULL LINER TERMS : This is somewhat a vaguer term given different port practices. However, it generally implies that the freight amount provided includes both shore based and on-board stevedoring, lashing/unlashing, dunnage materials, securing/unsecuring and all costs of presenting to/receiving the cargo from the ship’s side; with the shippers/receivers just bearing the cost of discharging from/reloading to the transport, along with the usual port charges/levies/taxes etc.
- Frequently the terms are varied at different ends of the voyage i.e. FILO (Free In/Liner Out), LIFO (Liner In Free Out) or FIFO (Free In/Free Out) etc. To be absolutely sure of all liabilities, it is always advisable to request that terms clearly and concisely indicate what is/isn’t included in your particular contract – in layman’s terms.
การขนส่งสินค้าทางทะเล เป็นส่วนประกอบที่สําคัญส่วนหนึ่งของ ระบบการค้าระหว่างประเทศ ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และในอนาคต เพราะเป็นเพียงการขนส่งชนิดเดียวที่ขนสินค้าได้คราวละมากๆ และค่าระวางมีราคาถูกกว่าการขนส่งในรูปแบบอื่น ๆ จากรายงานของโครงการศึกษาแผนหลักการพาณิชยนาวี ของคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี กระทรวงคมนาคม รายงานฉบับสมบูรณ์ ระบุว่า ประเทศไทยพัฒนาประเทศโดยอาศัยการค้าระหว่างประเทศมาโดยตลอด มีการนําเข้าและส่งออกสินค้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยมีมูลค่ามากกว่าร้อยละ 80 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) การขนส่งสินค้าทั้งขาเข้าและขาออกของไทยเป็นการขนส่งทางทะเลเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นการขนส่งสินค้าทางทะเลจึงเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันทางการค้าในตลาดโลก ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนําเข้าและส่งออกสินค้าจึงควรจะศึกษาและทําความเข้าใจในองค์ประกอบต่างๆ ที่สําคัญเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าทางทะเล ดังนี้คือ
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเล
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเล ได้แก่
- เจ้าของเรือ (SHIP OWNER)
- ผู้เช่าเรือ (SHIP CHARTERER)
- ตัวแทนสายเดินเรือ และตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (SHIPPING AGENT & FREIGHT FORWARDER)
- ผู้ส่งสินค้า (SHIPPER or EXPORTER)
- ผู้รับตราส่ง (CONSIGNEE)
- ผู้รับสินค้า (NOTIFY PARTY)
|
- การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation)
- การให้บริการเที่ยวบินประจำเส้นทาง (Airline)
- การให้บริการเที่ยวบินเช่าเหมาลำ (Charter Freight)
การขนส่งแบบ Door-to-Door
การใช้ประโยชน์โดยส่วนมากของการขนส่งทางบกในการขนส่งระหว่างประเทศคือ การใช้การขนส่งในการจัดส่งสินค้าจากโรงงานผลิตไปยังท่าเรือหรือท่าอากาศยาน เพื่อใช้การขนส่งหลักไปยังประเทศปลายทาง และใช้การขนส่งทางบกสำหรับการขนส่งจากท่าเรือ ท่าอากาศยาน ไปยังสถานที่ของผู้รับสินค้า และจากการที่สินค้าโดยส่วนมากไม่สามารถขนส่งโดยการขนส่งทางเรือ ทางอากาศ ได้เพียงรูปแบบเดียว จึงกล่าวได้ว่าการขนส่งทางบกเป็นรูปแบบการขนส่งที่ทำให้การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินการได้อย่างสมบูรณ์
ขั้นตอนการขนส่งสินค้าทางเรือ (Sea Freight)
- ผู้นำเข้าหรือส่งออก ตรวจสอบสินค้า
- ติดต่อบริษัทตัวแทนขนส่ง/freight forwarder Thai Global Logistics (www.tgl-log.com)
- นัดสถานที่รับสินค้าและจัดเตรียมเอกสาร
- จัดส่งสินค้าและรับเอกสาร B/L or D/O
เอกสารสำคัญที่ใช้ในการนำเข้า-ส่งออก (Sea Freight)
- ใบขนสินค้า
- ใบตราส่งสินค้าทางเรือ (Bill of Lading)
- ใบสั่งปล่อยสินค้า (Delivery of Order)
- บัญชีราคาสินค้า (Comercial Invoice)
- บัญชีบรรจุหีบห่อ (Packing List)
วิธีการคำนวณน้ำหนักสินค้าทางเรือ (Sea Freight)
ขั้นตอนการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight)
- ผู้นำเข้าหรือส่งออก ตรวจสอบสินค้า
- ติดต่อบริษัทตัวแทนขนส่ง freight forwarder Thai Global Logistics (www.tgl-log.com)
- นัดสถานที่รับสินค้าและจัดเตรียมเอกสาร
- จัดส่งสินค้าและรับเอกสาร Air Waybill or Delivery of Order (D/O)
เอกสารสำคัญที่ใช้ในการนำเข้า-ส่งออก (Air Freight)
- ใบขนสินค้า
- ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ (Air Waybiil)
- ใบสั่งปล่อยสินค้า (Delivery of Order)
- บัญชีราคาสินค้า (Comercial Invoice)
- บัญชีบรรจุหีบห่อ (Packing List)
วิธีการคำนวณน้ำหนักสินค้าทางอากาศ (Air Freight)
- น้ำหนักที่ชั่งได้จริง (จากสายการบิน)
- น้ำหนักตามขนาดสินค้าคำนวณได้จาก
THAI GLOBAL FREIGHT MANAGEMENT
Thai Global Logistics ให้บริการลูกค้าเสนอราคาออนไลน์
- พร้อมกับระบบการจองรถ/เรือ/แอร์ (AIR, SEA LCL, FCL, BREAK-BULK, TRUCK)/
- โกดังให้เช่า
- พิธีการศุลกากร
- คำนวณต้นทุนค่าขนส่งแบบระบบออนไลน์แอพของคนรุ่นใหม่ ง่ายๆเพียงคลิ้กเท่านี้คุณก็จะทราบราคาต้นทุนค่าขนส่ง(Freight Calculator) ระยะเวลาจัดส่ง (Distance & Time) แบบคร่าวๆทั้งหมดของคุณเพื่อคำนวนต้นทุน
- สามารถทำการบุ๊คกิ้งคาร์โก้ออนไลน์ได้เลย
- เว็บเรายังสามารถตรวจสอบสถานะของสินค้า (Shipment Trucking) ในตู้คอนเทนเนอร์ของคุณออนไลน์ได้ในแบบเรียลไทม์
- รวมถึงเช็คพิกัดศุลกากร (HS CODE)
- เช็คตารางเรือแบบ (Vessel Schedule)ออนไลน์รวมไว้ที่นี้ทีเดียวจบ!!
- ปัจจุบัน การนำเข้าและส่งออกสินค้า หรือ การค้าระหว่างประเทศมีการขยายตัวมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
- อย่างไรก็ตาม ขั้นตอนการนำเข้าและส่งออกสินค้ามีขั้นตอนที่ค่อนข้างละเอียด ทั้งในแง่ของกฎหมาย ภาษี และเอกสารต่างๆ ซึ่งหากทำไม่ถูกต้อง หรือประเมินค่าใช้จ่ายไม่ครบถ้วน จะก่อให้เกิดปัญหาทางด้านต้นทุน หรือปัญหาอื่นๆได้
- ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้า- ส่งออกสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน ทาง บริษัท ไทยโกลบอล โลจิสติกส์ จำกัด หรือ ThaiGlobal Logistics Co., Ltd. ยินดีให้คำปรึกษา และให้การบริการกับลูกค้าดังต่อไปนี้
- ให้คำปรึกษา ด้านการขนส่ง และการนำเข้าส่งออก ทั่วโลก
- ให้คำปรึกษาด้านพิธีการศุลกากรทางเรือ ทั้งแบบเต็มตู้ และไม่เต็มตู้ (FCL,LCL) พิธีการศุลกากรทางอากาศ และรถข้ามแดน โดยผู้ชำนาญการศุลกากร
- บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทั้ง ทางอากาศ ทางเรือ และรถข้ามแดน เรามีตัวแทนเครือข่ายเอเจ้นท์มากกว่า 175 ประเทศทั่วโลก (Global Network).
- บริการรถขนส่งสินค้าทั่วประเทศไทย เรามีรถร่วมวิ่งไว้รอให้บริการมากกว่า 300 คัน ทั้ง 4ล้อ, 6ล้อ,10ล้อ และรถหัวลากห่างโลเบท พื้นเรียบ ก้างปลา และตู้เย็น.
- บริการแพคกิ้งสินค้าทุกประเภทเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการส่งออก
- บริการคลังสินค้าและโกดังขนาดเล็กให้เช่าแบบตู้คอนเทนเนอร์20′,40′ และคลังสินค้าห้องเย็น
ขั้นตอนการประเมินค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าทั้งขาเข้า ทางเราจำเป็นต้องรบกวนให้ลูกค้าส่งข้อมูลให้ทางเราดังนี้ครับ สามารถใช้แพลตฟอร์ม TGL Freight Quote online ขั้นตอนง่ายๆได้เลยครับ หรือตามด้านล่าง
- #การขนส่งสินค้าขาเข้า พิธีการศุลกากรขาเข้า
- ที่อยู่ต้นทางของสินค้า หรือเมืองท่าต้นทาง เพื่อใช้ประเมินค่าระวางเรือข้อมูลสินค้า เช่น รูปภาพ จำนวน ขนาด น้ำหนักของกล่อง มูลค่าสินค้า หรืออินวอย (ถ้ามี) เพื่อใช้ประเมินค่าระวางเรือ ตรวจสอบภาษีขาเข้า และค่าใช้จ่ายอืนๆที่อยู่ส่งสินค้าในประเทศไทย เพื่อประเมินค่าขนส่งจากท่าเรือไปยังที่อยู่ของลูกค้า
- ทางลูกค้าจะต้องเตรียมข้อมูลเหล่านี้ไว้ เพื่อความรวดเร็วในการเสนอราคา ทางเจ้าหน้าที่จะนำข้อมูลมาเพื่อคำนวณค่าใช้จ่ายและค่าภาษีขาเข้า ที่สมเหตุสมผลที่สุดและเสนอกลับให้ลูกค้าในเวลาที่เร็วที่สุด
- หากลูกค้าพึงพอใจในราคา และตัดสินใจที่จะใช้บริการกับเรา “#การนำเข้าสินค้า” ทางเจ้าหน้าที่จะขอเอกสารสำคัญ ได้แก่ Packing List, Invoice และ เอกสารนำเข้าอื่นๆของผู้นำเข้า หากลูกค้าไม่มี โปรดแจ้งด่วน เพื่อดำเนินการจดทะเบียนต่อไป (แนะนำให้แจ้งล่วงหน้าก่อนนำเข้า)
- ทางเจ้าหน้าที่จะดำเนินการจองระวางเรือหรือจองไฟล์แอร์คาร์โก้ ดำเนินการทางด้านเอกสารและเดินพิธีการทางด้านศุลกากรทั้งต้นทางและปลายทาง และคำนวนเกี่ยวกับค่าภาษีขาเข้า ที่ลูกค้าต้องชำระในรูปแบบต่างๆ ที่ทางกรมศุลกากร ได้ระบุไว้เบื้องต้นและตรวจสอบใบอนุญาตในการขออนุญาตนำเข้าจากกรมต่างๆ
- เสียภาษีและดำเนินการออกของแล้วเสร็จจัดส่งไปยังที่อยู่ปลายทาง ที่ลูกค้าต้องการ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งเอกสารต่างๆใบเสร็จตามไปด้วย
- เรามีบริการรถขนส่งสินค้าที่รวดเร็วและปลอดภัยในราคาที่สมเหตุสมผลสำหรับธุรกิจของคุณ เรามีรถขนส่งหลากหลายประเภทซึ่งเราสามารถจัดให้เหมาะสมกับลักษณะและจำนวนสินค้าของคุณ พร้อมทั้งบริการโหลดสินค้าเต็มคันรถ คุณจึงสามารถมั่นใจได้ว่าสินค้าของคุณจะถูกจัดส่งถึงที่หมายอย่างปลอดภัยและตรงตามเวลา ประเภทรถสำหรับบริการขนส่งสินค้าของเรามีดังนี้รถบรรทุก 4 ล้อ / รถบรรทุก 4 ล้อขนาดจัมโบ้รถบรรทุก 6 ล้อ / รถบรรทุก 10 ล้อรถเทรลเลอร์ (ตู้ขนาด 20’DC, ตู้ขนาด 40’DC, ตู้ขนาด 40’HC, ตู้ควบคุมอุณหภูมิ REFER) รถเทรลเลอร์ LOW BED สำหรับขนสินค้าที่มีขนาดสูง, รถเทรลเลอร์พื้นเรียบ FLAT BED บริการขนส่งผ่านชายแดนเข้าไปยังประเทศพม่า ลาว กัมพูชา
- เราให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศครบวงจรทั้งทางอากาศและทางทะเล ด้วยความร่วมมือจากพันธมิตรทางธุรกิจของเราซึ่งมีอยู่ทั่วโลกกว่า 5,000 บริษัท เราจึงสามารถวางแผนและหาทางออกที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเพื่อตอบสนองทุกความต้องการในการขนส่งสินค้าของคุณ
- หากท่านมีข้อสงสัยเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถาม หรือขอคำแนะนำในการนำเข้า-ส่งออกสินค้าของท่านได้เลย
เรามีบริการรถขนส่งสินค้าที่รวดเร็วและปลอดภัยในราคาที่สมเหตุสมผลสำหรับธุรกิจของคุณ เรามีรถขนส่งหลากหลายประเภทซึ่งเราสามารถจัดให้เหมาะสมกับลักษณะและจำนวนสินค้าของคุณ พร้อมทั้งบริการโหลดสินค้าเต็มคันรถบริการรถขนส่งสินค้าทั่วประเทศไทย เรามีรถร่วมวิ่งไว้รอให้บริการมากกว่า 300 คัน ทั้ง 4ล้อ, 6ล้อ,10ล้อ และรถหัวลากห่างโลเบท พื้นเรียบ ก้างปลา และตู้เย็น. คุณจึงสามารถมั่นใจได้ว่าสินค้าของคุณจะถูกจัดส่งถึงที่หมายอย่างปลอดภัยและตรงตามเวลา
เราคือผู้ชำนาญการด้านการขนส่งสินค้าผ่านแดน พิธีการผ่านแดนชนิดพิเศษ และพิธีการถ่ายลำไปยัง ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม ประเทศจีน ประเทศเมียนมาร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์
ไม่ว่าสินค้าของคุณจะนำเข้ามาจากประเทศใดก็ตามสามารถขนส่งผ่านประเทศไทยเพื่อไปยังประเทศที่สามได้ เช่น ลาว เวียดนาม กัมพูชา เมียนมาร์ และมาเลเซีย โดยรถบรรทุก หรือประเทศอื่นๆ โดยการขนส่งทางอากาศหรือทางทะเล เราสามารถให้บริการจัดส่งถึงมือผู้รับ (Door-to-door service) ได้แบบเต็มคันรถทั้งตู้ขนาด 20 ฟุต หรือ 40 ฟุต
- ประเภทรถสำหรับบริการขนส่งสินค้าของเรามีดังนี้
- รถบรรทุก 4 ล้อ / รถบรรทุก 4 ล้อขนาดจัมโบ้
- รถบรรทุก 6 ล้อ / รถบรรทุก 10 ล้อ
- รถเทรลเลอร์ (ตู้ขนาด 20’DC, ตู้ขนาด 40’DC, ตู้ขนาด 40’HC, ตู้ควบคุมอุณหภูมิ REFER)
- รถเทรลเลอร์ LOW BED สำหรับขนสินค้าที่มีขนาดสูง, รถเทรลเลอร์พื้นเรียบ FLAT BED
- บริการขนส่งผ่านชายแดนเข้าไปยังประเทศพม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย FTL & LTL Transportation
- บริการขนส่งผ่านชายแดนเข้าไปยังประเทศ ลาว-เวียดนาม-จีน FTL & LTL Transportation
- บริการขนส่งรถไฟระหว่าง ไทย-ลาว-จีน-ยุโรป FTL & LTL (Vietnam,-Hanoi, -Haiphong – north of Thailand. – Chongqing, then connect rail to Russia. by rail Transportation
- บริการเดินพิธีรการศุลกากรผ่านแดนและรถผ่านแดน
เราคือผู้ชำนาญการศุลกากร ชียวชาญในการดำเนินพิธีการศุลกากรทั้งขาเข้าและขาออก เรามีความรู้และประสบกาณ์เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบพิธีการศุลกากรเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นสินค้าประเภทใด ตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่สำหรับใช้ในโปรเจ็คท์ เราจึงสามารถทำทุกอย่างให้เป็นเรื่องง่ายได้แม้ว่าคุณจะไม่เคยนำเข้าหรือส่งออกสินค้ามาก่อน
- สินค้าทั่วไป (General cargo)
- สินค้าชนิดพิเศษสำหรับใช้ในงานโปรเจ็คท์ (Special/Project cargo)
- อาหารและอาหารทะเลแช่แช็ง / เครื่องจักร / เครื่องสำอางค์ / อุปกรณ์การแพทย์
- ของใช้ส่วนตัวและของใช้ในบ้าน
- พิธีการศุลกากรผ่านแดนชนิดพิเศษไปยังประเทศลาว/พิธีการศุลกากรถ่ายลำไปยังประเทศเมียนมาร์ กัมพูชา
บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศและทางทะเล
- เราให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศครบวงจรทั้งทางอากาศและทางทะเล ด้วยความร่วมมือจากพันธมิตรทางธุรกิจของเราซึ่งมีอยู่ 175 ประเทศทั่วโลกกว่า 4,000 บริษัท เราจึงสามารถวางแผนและหาทางออกที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเพื่อตอบสนองทุกความต้องการในการขนส่งสินค้าของคุณ
- ปัจจุบัน การนำเข้าและส่งออกสินค้า หรือ การค้าระหว่างประเทศมีการขยายตัวมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม ขั้นตอนการนำเข้าและส่งออกสินค้ามีขั้นตอนที่ค่อนข้างละเอียด ทั้งในแง่ของกฎหมาย ภาษี และเอกสารต่างๆ ซึ่งหากทำไม่ถูกต้อง หรือประเมินค่าใช้จ่ายไม่ครบถ้วน จะก่อให้เกิดปัญหาทางด้านต้นทุน หรือปัญหาอื่นๆได้
- ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้า- ส่งออกสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน
- ทาง บริษัท ไทยโกลบอล โลจิสติกส์ จำกัด หรือ ThaiGlobal Logistics Co., Ltd. ยินดีให้คำปรึกษา และให้การบริการกับลูกค้าดังต่อไปนี้
- ให้คำปรึกษาด้านพิธีการศุลกากรทางเรือ ทั้งแบบเต็มตู้ และไม่เต็มตู้ (FCL,LCL) พิธีการศุลกากรทางอากาศ และรถข้ามแดน โดยผู้ชำนาญการศุลกากร
- บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทั้ง ทางอากาศ ทางเรือ และรถข้ามแดน เรามีตัวแทนเครือข่ายเอเจ้นท์มากกว่า 175 ประเทศทั่วโลก (Global Network).
- บริการรถขนส่งสินค้าทั่วประเทศไทย เรามีรถร่วมวิ่งไว้รอให้บริการมากกว่า 300 คัน ทั้ง 4ล้อ, 6ล้อ,10ล้อ และรถหัวลากห่างโลเบท พื้นเรียบ ก้างปลา และตู้เย็น.
- บริการแพคกิ้งสินค้าทุกประเภทเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการส่งออก
- บริการคลังสินค้าและโกดังขนาดเล็กให้เช่าแบบตู้คอนเทนเนอร์20′,40’และคลังสินค้าห้องเย็น
- ราคาสินค้าข้อมูลสินค้าทั้งหมด (Invoice & Packing list)
- ปริมาณสินค้า กี่ CBM หรือเต็มตู้กี่ฟุต (20′ 40′) ตู้แห้ง หรือตู้เย็นกรณีเป็นของสด
- ที่อยู่ต้นทางในประเทศหรือต่างประเทศ และที่อยู่ปลายทางในประเทศหรือต่างประเทศ
- ลูกค้ามี NSW ลงทะเบียนกับกรมศุลกากรแล้วหรือไม่
- ทางลูกค้าจะต้องเตรียมข้อมูลเหล่านี้ไว้ เพื่อความรวดเร็วในการเสนอราคา ทางเจ้าหน้าที่จะนำข้อมูลมาเพื่อคำนวณค่าใช้จ่าย ที่สมเหตุสมผลที่สุดและเสนอกลับให้ลูกค้าในเวลาที่เร็วที่สุด
- หากลูกค้าพึงพอใจในราคา และตัดสินใจที่จะใช้บริการกับเรา
- “#การนำเข้าสินค้า” ทางเจ้าหน้าที่จะขอเอกสารสำคัญ ได้แก่ Packing List, Invoice และ ใบ NSW ผู้นำเข้า
- หากลูกค้าไม่มี โปรดแจ้งด่วน เพื่อดำเนินการจดทะเบียนต่อไป (แนะนำให้แจ้งล่วงหน้า) หรือต้องการใช้เอกสาร Im/Ex license ของเราก็แจ้งได้ครับ
- ทางเจ้าหน้าที่จะดำเนินการจองระวางเรือหรือจองไฟล์แอร์คาร์โก้
- ดำเนินการทางด้านเอกสารและเดินพิธีการทางด้านศุลกากรทั้งต้นทางและปลายทาง และคำนวนเกี่ยวกับค่าภาษีขาเข้า ที่ลูกค้าต้องชำระในรูปแบบต่างๆ ที่ทางกรมศุลกากร ได้ระบุไว้เบื้องต้นและตรวจสอบใบอนุญาตในการขออนุญาตนำเข้าจากกรมต่างๆ
- ดำเนินการออกของแล้วเสร็จ และจัดส่งไปยัง ปลายทาง ที่ลูกค้าต้องการ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งเอกสารต่างๆ ตามไปด้วย